วันเสาร์ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2555

สีย้อมผ้าผสมยางมะละกอ


โครงงานวิทยาศาตร์

เรื่อง    สีย้อมผ้าผสมยางมะละกอและยางกล้วย

 จัดทำโดย
น.ส. เรสิยา ศรสิทธิ์ เลขที่ 24

น.ส. พรกมล ภูมิสุข เลขที่ 18
สาขาคอมพิวเตอร์ 306


ครูที่ปรึกษาการจัดทำโครงงาน

อาจารย์จิตสถา เตชะทวีกุล


กิตติกรรมประกาศ


 ขอขอบพระคุณ อาจารย์จิตสถา เตชะทวีกุล  ครูที่ปรึกษาโครงงาน ที่กรุณาให้คำแนะนำตลอดเวลาของการดำเนินงานตามจุดประสงค์ของโครงงานที่ได้กำหนดไว้ คณะผู้จัดทำขอขอบพระคุณท่านที่ให้ความช่วยเหลือในเรื่องต่างๆและหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงงาน เรื่องผลกระทบของ สีย้อมผ้าผสมยางมะละกอและยางกล้วยน่าจะเกิดประโยชน์ต่อผู้ที่มีความสนใจ 


 

บทคัดย่อ
    


การศึกษาการติดทนของสีย๎อมผ๎าผสมยางกล๎วยและยางมะละกอมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการติดทนของสีบนเนื้อผ๎าจากการใช๎สีย๎อมผ๎าผสมยางกล๎วยและยางมะละกอ โดยน าผ๎าฝ้ายมาตัดให๎ได๎ขนาด 6x8 นิ้ว จ านวน 2 ผืน แล๎วน าผ๎าผืนที่ 1 แชํกับสีย๎อมผ๎าที่ผสมกับยางกล๎วย และผ๎าผืนที่  2 แชํกับสีย๎อมผ๎าที่ผสมกับยางมะละกอ โดยสัดสํวนในการผสมคือยางกล๎วยและยางมะละกออยํางละ  30  มิลลิลิตร ผสมกับสีย๎อมผ๎า ½  ช๎อนชา และน้ าเปลํา  10  มิลลิลิตร ให๎เป็นเนื้อเดียวกัน จากนั้นน าผ๎าผืนที่  1  และผืนที่ 2  ซักในน้ าเปลํา ปริมาณ 30 มิลลิลิตรและตากให๎แห๎งทั้ง 3 ครั้ง สังเกตสีบนผ๎าหลังการซักแตํละครั้ง บันทึกผล ผลการศึกษาพบวําสีผ๎าหลังการซักครั้งที่  1  สีของผ๎าที่ย๎อมด๎วยยางมะละกอมีสีเข๎มกวําสีของผ๎าที่ย๎อมด๎วยยางกล๎วย สีผ๎าหลังการซักครั้งที่ 2 สีของผ๎าที่ย๎อมด๎วยยางมะละกอสียังคงเข๎มและติดทนสํวนสีของผ๎าที่ย๎อมด๎วยยางกล๎วยนั้นมีสีติดอยูํเพียงเล็กน๎อย สีผ๎าหลังการซักครั้งที่  3 สีของผ๎าที่ย๎อมด๎วยยางมะละกอสียังคงเข๎มและติดทนสํวนสีของผ๎าที่ย๎อมด๎วยยางกล๎วยนั้นหลุดออกและไมํติดเนื้อผ๎า  สรุปได๎วํา สีย๎อมผ๎าผสมยางมะละกอสามารถติดทนบนเนื้อผ๎าได๎ดีกวําสีย๎อมผ๎าผสมยางกล๎วย


 บทที่1
บทนำ
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน

1.1 ที่มาและความส าคัญของโครงงานในชีวิตประจ าวันของเรากล๎วยนับวําเป็นพืชที่ให๎ประโยชน์แกํคนและสัตว์อยํางมากเรารับประทาน ผลกล๎วยสุก ซึ่งให๎คุณคําสารอาหารคาร์โบไฮเดรต เกลือแรํ และวิตามิน น าผลกล๎วยสุกและกล๎วยดิบที่แกํจัด มาแปรรูปเพื่อให๎นํารับประทานมากยิ่งขึ้น เชํน กล๎วยกวน กล๎วยเชื่อม   กล๎วยฉาบ ฯลฯ  ใบกล๎วยน ามาใช๎หํอขนม เย็บเป็นถาด ใสํอาหาร ใช๎ท าบายศรี ฯลฯ สํวนก๎านใบกล๎วยน ามาเป็นอาหารสัตว์ ท าเชือก ฯลฯ จะเห็นได๎วําทุกสํวนของกล๎วยให๎ประโยชน์มากมาย จึงกลายเป็นจุดเดํนในการสร๎างงานศิลปะที่งดงามจากวัสดุธรรมชาตินั่นคือ "ศิลปะลายผ๎าจากยางกล๎วย" ทางกลุํมสังเกตเห็นวําเมื่อเราน าเอากล๎วยมาใช๎ประโยชน์โดยไมํระมัดระวังยางกล๎วยถ๎าติดบนเสื้อผ๎าแล๎ว จะซักไมํออกจะเป็นสีน้ าตาลติดแนํน จากคุณสมบัติของยางกล๎วยดังกลําวนี้เอง และยังมีผลไม๎อีกชนิดหนึ่งที่มีประโยชน์มากมายนั่นคือ  มะละกอนับได๎วําเป็นผลไม๎ที่ได๎รับความนิยมสูงและมีประโยชน์ในด๎านตํางๆ กว๎างขวางกวําผล ไม๎ชนิดอื่นๆ แทบทุกชนิด จึงคงไมํผิดความจริงหากเราจะเรียกมะละกอวําเป็นผล ไม๎ยอดนิยมสารพัด ประโยชน์ของชาวไทย เนื่องจากในยางมะละกอมีสารประกอบปาเปนซึ่งเป็นเอนไซม์ชนิดหนึ่งในยางมะละกอซึ่งปกติจะประกอบด๎วยสํวนตําง ๆ ที่มีฤทธิ์เป็น  Proteolytic enzyme อยูํ 4  ชนิด คือ Papain, Chymopapain A และ B และ Papaya peptidase A  โดย Chymopapain  เป็นเอนไซม์ที่พบมากที่สุดในยางมะละกอ รองลงมาคือ Papain ซึ่งมีประมาณต่ ากวําร๎อยละ 10 และ papaya peptidase A มีปริมาณน๎อยที่สุด เอนไซม์  Chymopapain มีความอยูํตัว ทนความร๎อนและทนตํอสภาพกรดได๎ดี และเป็นตัวการส าคัญที่ท าให๎เนื้อมีความนุํม สายพันธุ์มะละกอที่สามารถผลิตน้ ายางสดได๎สูงคือ สายพันธุ์จ าปาด า และแขกด า โดยจะพบยางมะละกอในสํวนที่เป็นใบก๎าน และผลดิบ ซึ่งมีแนวโน๎มที่อาจเป็นไปได๎ ในการกรีดเอายางมะละกอมาใช๎ประโยชน์ เพื่อการอุตสาหกรรมในอนาคต ทางกลุํมจึงสังเกตเห็นวําในการที่จะน ายางมะละกอมาใช๎เป็นสีย๎อมผ๎านั้น นําจะมีความเป็นไปได๎ จึงได๎ท าการศึกษาเพื่อเปรียบเทียบการติดทนของสีย๎อมผ๎าผสมยางกล๎วยและยางมะละกอ

1.2  วัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบการติดทนของสีบนเนื้อผ๎าจากการใช๎สีย๎อมผ๎าผสมยางกล๎วยและยางมะละกอ1.3  สมมุติฐานสีย๎อมผ๎าจากยางกล๎วยสามารถติดทนบนเนื้อผ๎าได๎ดีกวําสีย๎อมผ๎าจากยางมะละกอ1.4  ตัวแปรที่ศึกษา1.4.1 ตัวแปรต๎น : ยางกล๎วยและยางมะละกอ 1.4.2 ตัวแปรตาม  : การติดทนของสีบนเนื้อผ๎า 1.4.3 ตัวแปรควบคุม  : ชนิดของสี ปริมาณของสีที่ใช๎ผสม ปริมาณของยางกล๎วยและยางมะละกอ ปริมาณของน้ าที่ใช๎ผสม ระยะเวลาที่ใช๎ย๎อมผ๎าและชนิดของเนื้อผ๎า1.5  ขอบเขตการศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้ มีขอบเขตของการศึกษาดังนี้1.5.1  สิ่งที่ศึกษา  ยางมะละกอมาจากมะละกอพันธุ์แขกด า ยางกล๎วยมาจากพันธุ์กล๎วยน้ าว๎า 1.5. 2  ระยะเวลาที่ใช๎ในการศึกษาตั้งแตํวันที่  9 – 11 เดือนสิงหาคม 2554             1.5.3  สถานที่ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาล าปาง1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ     1.6.1  เพื่อให๎ทราบวิธีการย๎อมผ๎าจากยางกล๎วยและยางมะละกอ1.6.2  เพื่อให๎ทราบการติดทนของสีบนเนื้อผ๎าจากการใช๎สีย๎อมผ๎าผสมยางกล๎วยและยางมะละกอ   1.6.3  เพื่อน าวัสดุจากธรรมชาติมาใช๎ให๎เกิดประโยชน์1.6.4  เพื่อน าความรู๎ที่ได๎รับจากการท าโครงงานไปใช๎ประโยชน์ในชีวิตประจ าวันและเผยแพรํให๎ผู๎ที่สนใจ1.6.5 เพื่อใช๎เวลาวํางให๎เกิดประโยชน์1.7 นิยามปฏิบัติการ1.7.1  การติดทนของสีบนเนื้อผ๎า หมายถึง การเปลี่ยนแปลงสีบนเนื้อผ๎าน๎อยที่สุดหลังจากการจุํมผ๎าในสีย๎อมผ๎าผสมยางกล๎วยและยางมะละกอ1.7.2   สีย๎อมผ๎า หมายถึง สีที่ใช๎ในการย๎อมเส๎นใยของผ๎า มีลักษณะเป็นผลึกหรือผงละเอียด ละลายน้ าได๎1.7.3  ยางกล๎วย หมายถึง ของเหลวที่ไหลออกมาจากต๎นกล๎วยเมื่อเราตัดก๎านกล๎วย ปลีกล๎วยและหนํอกล๎วย   1.7.4   ยางมะละกอ หมายถึง ของเหลวที่ไหลออกมาจากผลของมะละกอดิบหลังการใช๎มีดกรีด


บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง

ในการจัดท าโครงงานเรื่องการศึกษาการติดทนของสีย๎อมผ๎าผสมยางกล๎วยและยางมะละกอ ได๎ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข๎อง โดยแยกเป็นหัวข๎อตามล าดับดังนี้2.1 กล้วย2.1.1   ประวัติของกล้วย   ลักษณา โลํพิทักษ์สันติ ( 2548: เว็บไซด์)กลําวถึงกล๎วยวํา ในชีวิตประจ าวันของเรากล๎วยนับวําเป็นพืชที่ให๎ประโยชน์แกํคนและสัตว์อยํางมากเรารับ ประทาน ผลกล๎วยสุก ซึ่งให๎คุณคําสารอาหารคาร์โบไฮเดรต เกลือแรํ และวิตามิน น าผลกล๎วยสุกและกล๎วยดิบที่แกํจัด มาแปรรูปเพื่อ ให๎นํารับประทานมากยิ่งขึ้น เชํน กล๎วยกวน กล๎วยเชื่อม   กล๎วยฉาบ ฯลฯ  ใบกล๎วยน ามาใช๎หํอขนม เย็บเป็นถาด ใสํอาหาร ใช๎ท าบายศรี ฯลฯ สํวนก๎านใบกล๎วยน ามาเป็นอาหารสัตว์ ท าเชือก ฯลฯ จะเห็นได๎วําทุกสํวนของกล๎วยให๎ประโยชน์มากมาย  ทางกลุํมสังเกตเห็นวําเมื่อเราน าเอากล๎วยมาใช๎ประโยชน์โดยไมํระมัดระวังยางกล๎วยถ๎าติดบนเสื้อผ๎าแล๎ว จะซักไมํออกจะเป็นสีน้ าตาลติดแนํน จากคุณสมบัติของยางกล๎วยดังกลําวนี้เอง จึงกลายเป็นจุดเดํนในการสร๎างงานศิลปะที่งดงามจากวัสดุธรรมชาตินั่นคือ "ศิลปะลายผ๎าจากยางกล๎วย" ยางกล๎วยถึงแม๎วําจะติดแนํนและให๎สีน้ าตาล ถ๎าทิ้งไว๎ให๎โดนอากาศจะเสียงําย ดังนั้นเมื่อเก็บยางกล๎วยได๎แล๎วจะต๎องใสํในขวดหรือถุงพลาสติกแล๎วปิด-ผูกให๎แนํนไมํให๎อากาศเข๎า จะสามารถเก็บไว๎ในตู๎เย็นจะสามารถเก็บไว๎ได๎นานหลายเดือน
2.2     มะละกอ
2.2.1   ประวัติมะละกอ    วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี( 2553: เว็บไซด์)กลําวถึงมะละกอวํา เราอาจจัดมะละกออยูํในจ าพวกผักที่เรียกวํา  “ผักผล” (Fruit Vegetables) เพราะใช๎ผลมาประกอบอาหาร(คาว) เป็นหลัก แม๎จะใช๎สํวนอื่นๆ (เชํน ใบ ยอด) เป็นด๎วยผักได๎ด๎วย แตํใช๎น๎อยกวําผลมาก ผักจ าพวก  “ผักผล” นี้มีหลายชนิด เชํน มะเขือ แตงกวา ฟังทอง เป็นต๎น ในบรรดาผัดที่มีอยูํมากมายหลายชนิดนั้น มะละกอนับได๎วําเป็นผักผลที่ได๎รับความนิยมสูงและมีประโยชน์ในด๎านตํางๆ กว๎างขวางกวําผักผลชนิดอื่นๆ แทบทุกชนิด จึงคงไมํผิดความจริงหากเราจะเรียกมะละกอวําเป็นผักผลยอดนิยมสารพัด ประโยชน์ของชาวไทย


บทที่3

วิธีด าเนินการ

3.1  วัสดุ อุปกรณ์
  1.   ยางมะละกอ    
  2.  จ านวน    30   มิลลิลิตร   
  3.  
  4.  ยางกล๎วย     จ านวน   30    มิลลิลิตร 
  5.     ผ๎าฝ้าย ขนาด  6x8 นิ้ว    จ านวน    2      ผืน 
  6.       สีย๎อมผ๎า สีแดง     จ านวน    1       ช๎อนชา
  7.    บิ๊กเกอร์      จ านวน    2      ใบ 
  8.   มีด      จ านวน   1 เลํม 
  9.  กระบอกฉีดยา     จ านวน   1       อัน 
  10.  น้ าเปลํา          จ านวน    200 มิลลิลิตร
  11.  กรรไกร     จ านวน   1 อัน
  12. .ที่คีบน้ าแข็ง     จ านวน   1 


3.2  วิธีด าเนินการ  1. น าผ๎าฝ้ายมาตัดให๎ได๎ขนาด  6x8 นิ้ว จ านวน 2 ผืน 2. น ายางกล๎วยที่ได๎มาจากการตัดสํวนของก๎านกล๎วย ปลีกล๎วยและหนํอกล๎วย ตวงใสํบิ๊กเกอร์ให๎ได๎ปริมาณ 30 มิลลิลิตร 3. น ายางมะละกอที่ได๎จากการกรีดในสํวนของผล ตวงใสํบิ๊กเกอร์ให๎ได๎ปริมาณ 30 มิลลิลิตร 4. น าน้ ายางกล๎วยและน้ ายางมะละกอมาผสมกับสีย๎อมผ๎าสีแดง ในบิ๊กเกอร์ทั้ง 2 ใบ ปริมาณใบละ ½ ช๎อนชา น าน้ าเปลําใสํลงในบิ๊กเกอร์ทั้ง 2 ใบ ปริมาณใบละ 10 มิลลิลิตร จากนั้นผสมให๎เป็นเนื้อเดียวกัน5. น าผ๎าที่ตัดไว๎ทั้ง 2 ผืน มาแชํเพื่อย๎อมลงในบิ๊กเกอร์ทั้ง 2 ใบ เป็นเวลา 5 นาที 6. น าผ๎าไปซักในน้ าเปลําและตากให๎แห๎งทั้ง 3 ครั้ง สังเกตและบันทึกผลทั้ง 3 ครั้ง


บทที่ 4

ผลการศึกษา

จากการศึกษาการติดทนของสีย๎อมผ๎าผสมยางกล๎วยและยางมะละกอ ซึ่งได๎ด าเนินการโดย น าผ๎าฝ้ายมาจุํมลงในสีย๎อมผ๎าผสมยางกล๎วยและยางมะละกอ และท าการเปรียบเทียบการติดทนของสีย๎อมผ๎าผสมยางกล๎วยและยางมะละกอ ได๎ผลการทดลองดังนี้   หลังจากน าผ๎าทั้ง  2 ผืนไปแชํเพื่อย๎อมลงในบิ๊กเกอร์ทั้ง 2 ใบ เป็นเวลา 5 นาที แล๎วจึงน าไปซักในน้ าเปลําและตากให๎แห๎งทั้ง 3 ครั้ง สังเกตและบันทึกผล ปรากฏวํา ผ๎าที่แชํด๎วยสีย๎อมผ๎าผสมยางมะละกอจะมีสีเข๎มกวําผ๎าที่แชํด๎วยสีย๎อมผ๎าผสมยางกล๎วย ดังตารางบันทึกผลการทดลองนี้ ตาราง ผลการทดลองการติดทนของสีบนเนื้อผ๎าจากการใช๎สีย๎อมผ๎าผสมยางกล๎วยและยางมะละกอจากการซัก 3 ครั้ง ชนิดของยางที่ใช้ย้อมผ้า  สีผ้าหลังการซักครั้งที่ 1 สีผ้าหลังการซักครั้งที่ 2 สีผ้าหลังการซักครั้งที่ 31.ยางมะละกอ สีเข๎มมาก  สีเข๎ม  สีเข๎ม 2.ยางกล๎วย  สีซีดจาง มีสีติดอยูํเล็กน๎อย สีไมํติดบนเนื้อผ๎าจากตาราง หลังการซักครั้งที่ 1 พบวํา สีของผ๎าที่จุํมลงในสีย๎อมผ๎าผสมยางมะละกอมีสีเข๎มกวําสีของผ๎าที่จุํมลงในสีย๎อมผ๎าผสมยางกล๎วย หลังการซักครั้งที่ 2 พบวํา สีของผ๎าที่จุํมลงในสีย๎อมผ๎าผสมยางมะละกอสียังคงเข๎มและติดทนสํวนสีของผ๎าที่จุํมลงในสีย๎อมผ๎าผสมยางกล๎วยนั้นมีสีติดอยูํเพียงเล็กน๎อยหลังการซักครั้งที่ 3 พบวํา สีของผ๎าที่จุํมลงในสีย๎อมผ๎าผสมยางมะละกอมีสียังคงเข๎มและติดทนสํวนสีของผ๎าที่จุํมลงในสีย๎อมผ๎าผสมยางกล๎วยนั้นหลุดออกและไมํติดเนื้อผ๎า สรุปได๎วํา สีย๎อมผ๎า ผสมยางมะละกอสามารถติดทนบนเนื้อผ๎าได๎ดีกวําสีย๎อมผ๎าผสมยางกล๎วย

บทที่  5

สรุปผลการศึกษา อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
5.1 สรุปผลการศึกษาจากการศึกษาเรื่องการติดทนของสีย๎อมผ๎าผสมยางกล๎วยและยางมะละกอ โดยการน าผ๎าฝ้ายมาจุํมลงในสีย๎อมผ๎าผสมยางกล๎วยและยางมะละกอ และท าการทดลองเปรียบเทียบการติดทนของสีย๎อมผ๎าผสมยางกล๎วยและยางมะละกอ ผลการทดลองทั้ง 3 ครั้ง พบวํา สีของผ๎าที่จุํมลงในสีย๎อมผ๎าผสมยางมะละกอติดทนบนเนื้อผ๎าได๎ดีกวําสีของผ๎าที่จุํมลงในสีย๎อมผ๎าผสมยางกล๎วย สรุปได๎วํา สีย๎อมผ๎า ผสมยางมะละกอสามารถติดทนบนเนื้อผ๎าได๎ดีกวําสีย๎อมผ๎าผสมยางกล๎วย5.2  การอภิปรายผล  การน าผ๎าฝ้ายมาย๎อมสีผสมยางกล๎วยและยางมะละกอ และท าการทดลองเปรียบเทียบการติดทนของสีย๎อมผ๎าผสมยางกล๎วยและยางมะละกอ สรุปได๎วํา สีย๎อมผ๎าผสมยางมะละกอสามารถติดทนบนเนื้อผ๎าได๎ดีกวําสีย๎อมผ๎าผสมยางกล๎วย เนื่องจากยางมะละกอมีคุณสมบัติของปาเปนเป็นเอนไซม์ที่พบมากที่สุดในยางมะละกอ ซึ่งมีความอยูํตัว ทนความร๎อนและทนตํอสภาพกรดได๎ดีโดยนิยมใช๎ในอุตสาหกรรมการฟอกหนัง โดยผสมปาเปนในน้ ายาแชํหนังจะท าให๎หนังเรียบ และนุํม สํวนในอุตสาหกรรมทอผ๎า จะใช๎ปาเปนฟอกไหมให๎หมดเมือกจึงท าให๎สีย๎อมผ๎าผสมมะละกอติดทนบนเนื้อผ๎าได๎ดีกวําสีย๎อมผ๎าผสมยางกล๎วย 5.3 ข้อเสนอแนะ1.ควรน าผ๎าชนิดอื่นมาท าการทดลองเพื่อทดสอบวําผ๎าชนิดใดมีการติดทนของสีย๎อมผ๎าผสมยางกล๎วยและยางมะละกอได๎ดีกวํา2.ควรทดสอบน าสีย๎อมผ๎าผสมยางผลไม๎ชนิดอื่นเพื่อท าการทดสอบการติดทนของสีบนเนื้อผ๎าที่ดีที่สุด







วันศุกร์ที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2555


BOI FAIR 2011 PAVILION



HONDA ตอกย้ำความผูกพันกับสังคมไทย ในงาน BOI FAIR 2011




Pic_229147

การออกแบบภายนอก Honda Pavilion
การ ออกแบบภายนอก Honda Pavilion มีไฮไลต์สำคัญคือ ม่านน้ำตกขนาดใหญ่ แห่งแรกและแห่งเดียวของประเทศไทย 
ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากน้ำพระราชหฤทัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งเปรียบดังน้ำทิพย์ชโลมใจให้ทุกคนที่เข้ามาภายใน Honda Pavilion ได้สัมผัสกับความร่มเย็นจากม่านน้ำ ด้วยนวัตกรรมด้านดีไซน์แบบ eco ที่ใช้ม่านน้ำแทนผนังโครงสร้าง คำนึงถึงคุณประโยชน์ด้านสิ่งแวดล้อม โดยใช้น้ำช่วยกรองความร้อนที่จะเข้ามาใน Pavilion แต่ในขณะเดียวกันก็มีความโปร่ง ทำให้แสงสว่างส่องเข้ามาถึงภายใน จึงช่วยลดการใช้พลังงานไฟฟ้าถึง 40%





Honda Brio 
ยาน ยนต์ Eco Car ขนาดกะทัดรัด ซึ่งได้เปิดตัวเป็นครั้งแรกในประเทศไทย สร้างมาตรฐานใหม่ให้แก่วงการรถยนต์ราคาประหยัด ด้วยรูปลักษณ์และสไตล์ของตัวรถที่สามารถตอบสนองต่อการใช้งานในเมืองใหญ่ สามารถใช้น้ำมันเชื้อเพลิง E20 ได้ และมีอัตราการประหยัดน้ำมันถึง 20 กิโลเมตรต่อลิตร เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ไม่เกิน 20 กรัม/กิโลเมตร ผ่านมาตรฐาน EURO-4

TOYOTA PAVILION แสดงเทคโนโลยีอนาคตสุดล้ำในงาน BOI FAIR 2011



Prius Plug-in


2. Prius Plug – in รถยนต์ไฮบริดที่สามารถเสียบปลั๊กเพื่อชาร์จไฟฟ้าได้ มาพร้อมกับระบบแบตเตอรีไฮบริดที่มีประสิทธิสูงขึ้น ทำให้รถสามารถวิ่งได้ระยะทางมากขึ้น ในโหมดที่ใช้พลังงานไฟฟ้าเพียงอย่างเดียว (EV mode) นอกจากนี้ยังสามารถตั้งเวลาในการชาร์จไฟ เพื่อที่จะชาร์จไฟในช่วงเวลาที่มีค่าการใช้ไฟฟ้าต่ำ ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย และช่วยเฉลี่ยการใช้ไฟฟ้าของประเทศ
3. 3D Theatre จำลองบรรยากาศของโลกอนาคตแบบ 3 มิติ ให้ความรู้สึกเสมือนเป็นส่วนหนึ่งของการใช้ชีวิตในโลกอนาคตที่มีการนำระบบ Smart Grid มาใช้ร่วมกับ รถยนต์ Prius Plug-in และระบบโตโยต้า สมาร์ท จีบุ๊ค ที่ใช้เทคโนโลยี เทเลเมทิกส์ในการสื่อสารและรับส่งข้อมูลต่างๆ อาทิ การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต การค้นหาสถานที่ต่างๆ หรือ สภาพการจราจร โดยสามารถควบคุมได้อย่างสะดวกสบายผ่านสมาร์ทโฟน ทั้งนี้เพื่อแสดงถึงการจัดสรรการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ

LG Smilenovation Pavilion ในงาน BOI FAIR 2011




LG Optimus LTE มือถือ 4G หรือเครือข่ายที่เรียกว่า LTE ตัวแรกของแอลจีที่เพิ่งเปิดตัวไปที่เกาหลีเมื่อไม่นานมานี้ ทางแอลจีส่งตรงมายังแอลจี พาวิลเลียนเป็นครั้งแรก ซึ่งทางแอลจีระบุว่า เป็นการกำหนดมาตรฐานใหม่ของวงการด้วย LG Optimus LTE สมาร์ทโฟน 4G รุ่นแรกของโลกที่มาพร้อมจอภาพ IPS ขนาด 4.5 นิ้ว ให้ความละเอียดระดับ True HD ให้ภาพคมชัด สีสันสวยสดใส รองรับการชมคอนเทนต์ได้อย่างสมบูรณ์แบบในทุกที่ เรียกว่ามอบขีดสุดแห่งความคมชัดด้วยความละเอียดที่ 1280 x 720 HD ให้ภาพสมจริงไม่ผิดเพี้ยนด้วยสัดส่วนหน้าจอ 16:9 แบบเดียวกับจอทีวี สมาร์ทโฟนตัวนี้สามารถปรับสีสันของภาพอัตโนมัติด้วยฟังก์ชั่น Mobile HD Graphic Engine
ส่วนสเปกของ LG Optimus LTE นั้นในส่วนของซีพียูเป็นแบบ ดูอัลคอร์ ความเร็ว 1.5 GHz แบตเตอรี่ 1830 mAh หน่วยความจำ 20GB (ภายใน 4GB และรองรับไมโครเอสดีได้ถึง 16GB แรม 1GB กล้องหลังมาที่ความละเอียด 8 ล้านพิเซลแบบออโต้โฟกัส พร้อมแฟลช LED ส่วนกล้องหน้าใส่มาที่ความละเอียด 1.3 ล้านพิเซล



“เชฟโรเลตโวลต์” รถพลังงานไฟฟ้าBoi Fair

ชฟโรเลต โวลต์ รถพลังงานไฟฟ้าขยายระยะทางขับเคลื่อน (Extended-Range Electric Vehicle) คันแรกของโลก โชว์โฉมสุดโฉบเฉี่ยว และเป็นดาวเด่นในเรื่องเทคโนโลยียานยนต์แห่งอนาคตในเชฟโรเลต พาวิลเลียน ที่งานบีโอไอ แฟร์ 2011 อยู่ในขณะนี้ แต่จะเป็นเพราะอะไรนั้น เชฟโรเลตมีเหตุผล 5 ประการที่ไม่ควรพลาดการชมนวัตกรรมแห่งโลก มานำเสนอดังนี้
1.รถพลังงานไฟฟ้า คันแรกของโลกที่ได้รับความปลอดภัยระดับ 5 ดาว
เชฟโรเลต โวลต์ เป็นรถพลังงานไฟฟ้าคันแรกในอุตสาหกรรมยานยนต์ที่ได้รับคะแนนความปลอดภัยระดับ 5 ดาวจาก องค์กรความปลอดภัยทางการจราจรแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (NHTSA – National Highway Traffic Safety Administration) ซึ่งเป็นไปตามแนวคิดการพัฒนายานยนต์ของเชฟโรเลต ไม่ว่าจะขับเคลื่อนด้วยน้ำมันหรือไฟฟ้า จะต้องมีความปลอดภัยสูงสุด
อุปกรณ์มาตรฐานความปลอดภัยที่ทำให้เชฟโรเลต โวลต์ คว้า 5 ดาวเต็ม ประกอบด้วยระบบควบคุมเสถียรภาพอิเลกทรอนิคส์ และระบบป้องกันการลื่นไถล ถุงลมนิรภัยรอบคันทั้งด้านหน้า ด้านข้าง บริเวณหัวเข่า รวมถึงม่านนิรภัย รวมทั้งหมด 8 ลูกที่ช่วยปกป้องผู้โดยสารทุกที่นั่ง ตลอดจนระบบเชื่อมต่อผ่านดาวเทียมออนสตาร์ ที่เป็นเหมือนผู้ช่วยส่วนตัว ทั้งการใช้งานในชีวิตประจำวัน หรือเมื่อเกิดอุบัติเหตุ และสามารถป้องกันขโมยได้อีกด้วย

นิสสันโชว์รถพลังงานไฟฟ้า ทาว์นพอต ในงาน BOI


นิสสัน ยืนยันความพร้อมร่วมงานบีโอไอ แฟร์ 2011 พร้อมเผยโฉมนิสสันพาวิลเลียน ชูแนวคิดยานยนต์ไร้มลพิษ นำเข้ารถยนต์พลังงานไฟฟ้ารุ่นล่าสุด นิสสัน ทาว์นพอด พร้อมเปิดโอกาสให้ทดลองขับ “นิสสัน ลีฟ” รถยนต์พลังงานไฟฟ้า 100% เป็นครั้งแรก
“การออกแบบนิสสันพาวิลเลียน ได้รับแรงบันดาลใจมาจากแนวคิดยานยนต์ไร้มลพิษ เมื่อมองจากมุมสูง จะเห็นว่าด้านบนของพาวิลเลียนเป็นรูปตัว “e” ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของพันธสัญญา “Zero Emission” ของนิสสัน ตัวอาคารภายนอกใช้สีขาวสะอาดตาสะท้อนความร้อน ช่วยลดการใช้พลังงานจากเครื่องปรับอากาศภายในตัวอาคาร และสร้างขึ้นด้วยวัสดุที่นำกลับมาใช้ใหม่หรือรีไซเคิลได้เพื่อเป็นการลดปริมาณขยะ และลดปัญหาสิ่งแวดล้อม” นายประพัฒน์ เชยชม รองกรรมการผู้จัดการใหญ่อาวุโสการตลาดและขาย กล่าวและเสริมว่า “นิสสัน มีเป้าหมายชัดเจนในการเป็นผู้นำยานยนต์ไร้มลพิษ เราเป็นผู้ผลิตและจำหน่ายรถยนต์พลังงานไฟฟ้า 100 % ในตลาดพาณิชย์เป็นแบรนด์แรกของโลก และเป็นผู้นำรถยนต์อีโค คาร์ ในประเทศไทย เราได้นำรถยนต์พลังงานไฟฟ้า นิสสัน ทาวน์พอด มาจัดแสดงเป็นประเทศแรก หลังจากเผยโฉมครั้งแรกประเทศญี่ปุ่นเมื่อต้นเดือนธันวาคมที่ผ่านมา นอกจากนี้ ผู้มาเยี่ยมชมนิสสัน พาวิลเลียน สามารถลงทะเบียนที่งาน เพื่อรับสิทธิ์ในการร่วมกิจกรรมทดลองขับรถยนต์พลังงานไฟฟ้า นิสสัน ลีฟ ที่จะจัดขึ้นเป็นพิเศษให้กับผู้โชคดี 100 ท่าน ภายหลังงานบีโอไอ แฟร์”

วันอังคารที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2554

โหระพา


โหระพา
โหระพา
โหระพา
สปีชีส์
O. basilicum var. thyrsiflora
กลุ่มพันธุ์ปลูก
โหระพา

โหระพา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Ocimum basilicum Linn.; วงศ์: LABIATAE; ชื่ออื่น: อิ่มคิมขาว, ฉาน - แม่ฮ่องสอน) เป็นไม้ล้มลุก สูง 0.5 - 1 เมตร ลำต้นเป็นสี่เหลี่ยมมีกิ่งอ่อนสีม่วงแดง ใบเป็นใบเดี่ยวออกตรงข้าม รูปไข่หรือรูปรีกว้าง 3 - 4 เซนติเมตร ยาว 4 - 6 เซนติเมตร ปลายแหลม โคนมน ขอบจักเป็นฟันเลื่อยห่างๆ ดอกสีขาวหรือชมพูอ่อน ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่งยาว 7 - 12 เซนติเมตร ใบประดับสีเขียวอมม่วงจะคงอยู่เมื่อเป็นผล กลีบดอกโคยเชื่อมกัน ปลายแยกเป็น 2 ส่วน มีเกสรตัวผู้ 4 อัน มีผลขนาดเล็ก

วันพุธที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

1.ชื่อโครงงาน โคมไฟไม้ไอติม




2.หลักการและเหตุผล